* ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลตำบลยะรัง
19 มกราคม 2560

0


ข้อมูลตำบลยะรัง

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง

1.    ข้อมูลเกี่ยวกับที่ตั้ง อาณาเขต เขตการปกครอง

สภาพทั่วไป

ที่ตั้ง องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง(สำนักงานชั่วคราว) หลังที่ว่าการอำเภอยะรัง

เนื้อที่ ในเขตรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 6.46 ตารางกิโลเมตร

สภาพภูมิประเทศ  องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง มีภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำปัตตานีไหลผ่านใน     หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2   พื้นที่ส่วนใหญ่ เป็นสวน และพื้นที่ติดต่อกับพื้นที่ใกล้เคียง ดังนี้

          ทิศเหนือ          ติดต่อ   ตำบลประจัน              อำเภอยะรัง      จังหวัดปัตตานี

          ทิศตะวันออก     ติดต่อ   ตำบลระแว้งและตำบลสะนอ       อำเภอยะรัง      จังหวัดปัตตานี

          ทิศตะวันตก      ติดต่อ   ตำบลยาบี                  อำเภอหนองจิก  จังหวัดปัตตานี

          ทิศใต้    ติดต่อ   ตำบล ปิตูมุดี ตำบลคลองใหม่       อำเภอยะรัง       จังหวัดปัตตานี

          จำนวนหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง  มีจำนวน 6 หมู่บ้าน ดังนี้

*  จำนวนหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล เต็มทั้งหมู่บ้าน มี 3 หมู่บ้าน  ได้แก่

          - หมู่ที่ 1   บ้านกรือเซะ

          - หมู่ที่ 2   บ้านยือแร

          - หมู่ที่ 6   บ้านต้นทุเรียน

*   จำนวนหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลเต็มบางส่วน  มี 3 หมู่บ้าน  ได้แก่

          - หมู่ที่ 3   บ้านปราแว

          - หมู่ที่ 4   บ้านพงกูวา

          - หมู่ที่ 5   บ้านพงสตา

*  ท้องถิ่นอื่นในเขตตำบล  คือ

          เทศบาลตำบลยะรัง

    ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ  องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำปัตตานีไหลผ่านใน หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2  พื้นที่ส่วนใหญ่  เป็นที่นาและสวน และลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบร้อนชื้น มี 2 ฤดูกาล  คือ ฤดูฝน และฤดูร้อน

ด้านโครงสร้างพื้นฐาน

          1.  การคมนาคม

                   - ทางหลวงแผ่นดิน        จำนวน           2        สาย

                   - ทางหลวงชนบท         จำนวน           1        สาย

                   - ถนนชนบท               จำนวน           58      สาย

          2.  การโทรคมนาคม

                   - ที่ทำการไปษณีย์โทรเลข จำนวน           -         แห่ง

                   - สถานีโทรคมนาคมอื่นๆ  จำนวน           -         แห่ง

          3.  การไฟฟ้า

                   ประชาชนทุกหมู่บ้านมีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือน

          4. แหล่งน้ำธรรมชาติ

                             - แม่น้ำ จำนวน           1        สาย

                             - คลอง  จำนวน           2        สาย

                             - สระน้ำ         จำนวน           1        สระ

                             - หนองน้ำ        จำนวน           -         แห่ง

          5. แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น

                             - ฝาย   จำนวน           -         แห่ง

                             - บ่อน้ำตื้น       จำนวน           274     แห่ง

                             - บ่อน้ำบาดาล   จำนวน             11    แห่ง

                             - ประปา         จำนวน             13    แห่ง

 

ข้อมูลเกี่ยวกับศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง
19 มกราคม 2560

0


2. ข้อมูลเกี่ยวกับศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง

          การจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง

          เดิมทีองค์การบริหารส่วนตำบลยะรังเป็นสภาตำบลยะรัง และได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลยะรังพร้อมกับองค์การบริหารส่วนตำบลอื่น รวม ๓,๖๓๗ แห่ง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล เมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่ม ๑๑๓ ตอนพิเศษ ๕๒ ง  ลงวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง  จึงจัดตั้งขึ้น นับเนื่องมาจนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลากว่า ๒๐ ปี ที่ตั้งที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง(ที่ตั้งเดิม) ณ หมู่ที่ 1 บ้านกรือเซะ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

1.    ข้อมูลหมู่บ้าน

2.1 บ้านกรือเซะ หมู่ที่ 1 ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของอำเภอยะรัง ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา ที่มาของชื่อหมู่บ้าน จากคำบอกเล่าของผู้สูงอายุในหมู่บ้าน บอกว่าแต่เดิมบ้านกรือเซะเป็นหมู่บ้านของคนดี        มีบารมีเป็นที่นับถือ ตัวอย่างเช่น กำนันของตำบลยะรังส่วนมากจะเป็นคนที่มาจากหมู่ที่ 1 ทำให้ชาวบ้านตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านกรือเซะ” ซึ่งหมายถึง ที่อยู่ของคนดี

อาณาเขต       

มีพื้นที่   จำนวน     1,100       ไร่ มีอาณาเขตติดต่อ   ดังนี้

ทิศเหนือ          จด      ตำบลประจัน

ทิศใต้             จด      ตำบลปิตูมุดี

ทิศตะวันออก     จด      หมู่ที่  5 บ้านพงสตา ตำบลยะรัง

ทิศตะวันตก      จด      ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก 

จำนวนครัวเรือนและประชากร

                   จำนวนครัวเรือน           จำนวน              255           ครัวเรือน

                   จำนวนประชากร          จำนวน             1,396          คน

                   แยกเป็น          ชาย     จำนวน             685            คน

                                      หญิง    จำนวน            711           คน

การประกอบอาชีพ

          อาชีพหลัก        เกษตรกรรม  (ทำไร่)

          อาชีพรอง         ทำสวน รับจ้างทั่วไป

ผลิตภัณฑ์/ผลผลิตหลักของหมู่บ้าน

          - ผลิตภัณฑ์หลัก ได้แก่ ผลผลิตทางเกษตร

          - ผลิตภัณฑ์รอง ได้แก่ งานฝีมือ งานหัตถกรรม

ร้านค้าต่าง ๆ  ในหมู่บ้าน

          1.  ร้านขายของชำหรือขายของเบ็ดเตล็ด                       จำนวน           7       แห่ง

          2.  ร้านจำหน่ายอาหาร                                         จำนวน           5       แห่ง

          3.  ร้านรับซื้อยางพารา                                          จำนวน           1       แห่ง

การศึกษา

          -  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก                                            จำนวน           -         แห่ง

          -  โรงเรียนตาดีกา                                               จำนวน           1        แห่ง

             ได้แก่ โรงเรียนฮีดายาตุลซอลีฮีน

          -  ศูนย์การเรียนอัลกุรอาน(กีรออาตี)                           จำนวน           1        แห่ง

              ได้แก่ ศูนย์ฯ บ้านกรือเซะ

          -  โรงเรียนประถมศึกษา                                         จำนวน           1        แห่ง

             ได้แก่ โรงเรียนบ้านกรือเซะ

          -  โรงเรียนมัธยมศึกษา                                          จำนวน           -         แห่ง

          -  ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน/ห้องสมุดประชาชน         จำนวน           1        แห่ง

                   * ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน                              จำนวน           1        แห่ง

                   *ห้องสมุดประชาชน                                             จำนวน           -         แห่ง

ศาสนา           อิสลาม          .        

สถาบันและองค์กรศาสนา

          -  มัสยิด                             จำนวน           1        แห่ง

             ได้แก่ มัสยิดฮีดายาตุลซอลีฮีน

วันสำคัญทางศาสนา

-         วันฮารีรายออีดิลฟิตรี / อิดิลอัฎฮา

การบริการสาธารณะในหมู่บ้าน

          (1)  โทรศัพท์ 

          (2)  ประปาหมู่บ้าน  บ่อน้ำ

          (3)  ไฟฟ้า

          (4)  สาธารณสุขมูลฐาน

          (5)  บริการด้านการปกครองดูแลผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาส

          (6)  เก็บขยะมูลฝอย 

          (7)  การจัดเวรยามประจำหมู่บ้าน ได้แก่ ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน ( ชรบ. )

องค์กรต่าง ๆ ที่มีในหมู่บ้าน

          (1)  คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน,คณะกรรมการกขคจ.

          (2)  กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)

          (3)  คณะกรรมการสตรีระดับหมู่บ้าน(กพสม.),กลุ่มสตรี

          (4)  กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน

          (5)  กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

ทักษะฝีมือแรงงานของหมู่บ้าน

          (1)  เกษตรกรรม          (2)  หัตถกรรม

การดำเนินงานกิจกรรมกลุ่มต่าง ๆ ของหมู่บ้าน  มีดังนี้

          (1)  คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน เป็นกองทุนหมุนเวียนในชุมชน

          (2)  กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ดูแลสุขภาพของคนในชุมชน

 

          2.2 บ้านยือแร หมู่ที่ 2  จากการเล่าประวัติหมู่บ้านยือแรของคนรุ่นปู่ย่าตายาย ได้พูดถึงความเป็นมาของหมู่บ้านเป็นสองเรื่อง เรื่องแรก คือ   ในอดีต ได้มีชาวบ้านกลุ่มหนึ่งอพยพมาตั้งถิ่นฐานติดแม่น้ำปัตตานี เพื่อให้สะดวกต่อการทำการเพาะปลูก โดยตั้งบ้านเรือนกันเป็นกลุ่ม ใช้ชีวิตเรียบง่าย พึ่งพาอาศัยกัน และเรียกชื่อหมู่บ้านแห่งนี้ว่า บ้านยือแร ซึ่งหมายถึง การพึ่งพาอาศัยกันของคนบ้านใกล้เรือนเคียง

          เรื่องที่สอง บ้านยือแร เดิมมาจาก จือรัง ซึ่งมีความหมายว่า สว่าง เนื่องมาจากเป็นหมู่บ้านที่เคยมีป่ารก ตั้งอยู่ริมน้ำ ต่อมา มีชาวบ้านที่อพยพมาจากที่อื่นมาตั้งถิ่นฐานและถางป่ารกจนสว่าง ทำให้ชาวบ้านเรียกบริเวณนั้นว่า จือรัง และเพี้ยนมาเป็นจือแรหรือ ยือแร จนกระทั่งทุกวันนี้

สภาพทั่วไป

§  ที่ตั้ง     ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของที่ว่าการอำเภอยะรัง ระยะห่างจากตัวอำเภอยะรัง ประมาณ 2  กิโลเมตร อยู่ในเขตพื้นที่หมู่ที่ 2 ต.ยะรัง

§  เนื้อที่    จำนวน      510     ไร่ 

§  ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ   เป็นที่ราบลุ่มติดแม่น้ำปัตตานี มีที่นา พื้นดินชื้นอุดมสมบูรณ์ เอื้อต่อการทำเกษตร เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ จัดอยู่ในภูมิอากาศแบบร้อนชื้น  มี ๒ ฤดู คือฤดูร้อน และฤดูฝน อากาศจะร้อนจัดประมาณ ๒ เดือน คือเดือนมีนาคม – เดือนเมษายนของทุกปี ปริมาณฝนโดยเฉลี่ยปานกลาง มีน้ำมากในฤดูฝน

§  อาณาเขต

ทิศเหนือ          จด      บ้านกรือเซะ ตำบลยะรัง

ทิศใต้               จด      ตำบลปิตูมุดี

ทิศตะวันออก    จด      บ้านบินยาลีมอ ตำบลยะรัง

ทิศตะวันตก      จด      แม่น้ำปัตตานี

 

§  จำนวนครัวเรือนและประชากร

                   จำนวนครัวเรือน           จำนวน             93            ครัวเรือน

                   จำนวนประชากร          จำนวน             429         คน

                   แยกเป็น      ชาย          จำนวน            213           คน

                                      หญิง         จำนวน            216          คน

§  ศาสนา  ประชากรนับถือศาสนาอิสลาม

§  ภาษา   ชาวบ้านส่วนใหญ่ใช้ภาษายาวีและภาษาไทยเป็นภาษาในการติดต่อสื่อสารภายในชุมชนและใช้ภาษาไทยเป็นภาษาราชการในการติดต่อสื่อสารกับหน่วยงานต่างๆ ที่เข้ามาในชุมชน

§  การคมนาคม    ใช้เส้นทางสายยะรัง – ยาบี ซึ่งเป็นถนนสายเดียวกับหมู่บ้านกรือเซะ เลี้ยวซ้ายเข้าไปประมาณ ๑ กิโลเมตร

สภาพทางเศรษฐกิจ

§  อาชีพหลัก การประกอบอาชีพของประชาชนที่นี่คือ ทำสวนยาง ทั้งที่เป็นเจ้าของสวนยางเองและรับจ้างกรีดยาง

อาชีพรอง คือ ค้าขาย เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ รับจ้างทั่วไป ทำงานนอกพื้นที่

ร้านค้าต่าง ๆ  ในหมู่บ้าน

1.  ร้านขายของชำหรือขายของเบ็ดเตล็ด       จำนวน     3        แห่ง

2.  ร้านจำหน่ายอาหาร                                   จำนวน     1        แห่ง

 สุเหร่าประจำหมู่บ้าน

สภาพทางสังคม

§ด้านการศึกษา                                                                      

o   มีที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน  1 แห่ง       

o   หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้าน     1 แห่ง          

§  สถาบันและองค์กรทางศาสนา

o   บาลาเซาะ 1 แห่ง

o   ร.ร. ตาดีกา บ้านยือแร 1 แห่ง

§  สาธารณสุข

o   มีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านให้บริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน

o   มีห้องน้ำสะอาดถูกสุขลักษณะทุกครัวเรือน

2.3 บ้านปราแว หมู่ที่3 ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของอำเภอยะรัง ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขาย รับจ้างและเกษตรกรรม ที่มาของชื่อหมู่บ้าน คำว่า "บราแว" ในภาษามาลายูท้องถิ่น ซึ่งตรงกับภาษาไทยว่า "พะวัง" หรือ"พระราชวัง" สาเหตุที่ได้เรียกพื้นที่แถบนี้ว่า"บราแว"หรือ"พระราชวัง" นั้นเนื่องมาจากว่ามีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่แสดงให้เห็นว่า พื้นที่แห่งนี้เคยเป็นที่ตั้งของเมืองโบราณ ชื่อ"โกตามาหาลิไฆ" ปัจจุบันยังมีซากกำแพงดิน คูเมือง สระ(บ่อโบราณ) และซากปรักหักพังของโบราณสถานหลายแห่งในพื้นที่

มีพื้นที่            จำนวน        170       ไร่   มีอาณาเขตติดต่อ   ดังนี้

ทิศเหนือ         จด      ม.5 ต.ยะรัง

ทิศใต้              จด      บ้านชามู ต.ปิตูมุดี

ทิศตะวันออก   จด      ม.4 ต.ยะรัง

ทิศตะวันตก     จด      บ้านกรือเซะ ต.ยะรัง

 

v จำนวนครัวเรือนและประชากร (เขตองค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง)

จำนวนประชากร ณ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2563

ข้อมูล หมุ่ที่ 1 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 6 รวม
ทะเบียนราษฎร์ ปี 2562
หลังคาเรือน 255 93 85 260 534 412 1,640
จำนวนประชากร
ชาย 685 213 87 546 925 842 3,298
หญิง 711 85 85 567 936 878 3,262
รวม 1,396 429 172 1,113 1,861 1,702 6,673

จำนวนประชากรทั้งสิ้น 6,673 คน แยกเป็นชาย 3,298 คน หญิง 3,262 คน

จำนวนหลังคาเรือนทั้งหมด 1,640 ครัวเรือน มีความหนาแน่นเฉลี่ย 51.01 คน/ตารางกิโลเมต

v การประกอบอาชีพ

                   อาชีพหลัก        รับจ้างทั่วไป

                   อาชีพรอง         ทำสวน

v ผลิตภัณฑ์/ผลผลิตหลักของหมู่บ้าน

                   ผลิตภัณฑ์หลัก ได้แก่ ผลผลิตทางการเกษตร

                   ผลิตภัณฑ์รอง ได้แก่ สินค้าเกษตรแปรรูป

ธุรกิจเอกชนในหมู่บ้าน

          1.  บ้านเช่า                         จำนวน           2        แห่ง

ร้านค้าต่าง ๆ  ในหมู่บ้าน

          1.  ร้านขายของชำหรือขายของเบ็ดเตล็ด             จำนวน           2       แห่ง

          2. ร้านขายอาหาร                                               จำนวน____1___แห่ง

 

การศึกษา

          -  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก                                            จำนวน           -         แห่ง

          -  โรงเรียนตาดีกา                                                 จำนวน           -         แห่ง

             ได้แก่ โรงเรียนยะรังอนุรักษ์ศาสน์

          -  โรงเรียนประถมศึกษา                                        จำนวน           -         แห่ง

          -  โรงเรียนมัธยมศึกษา                                          จำนวน           -         แห่ง

                

          -  ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน/ห้องสมุดประชาชน            จำนวน           -         แห่ง

                   * ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน     จำนวน           -         แห่ง

                   *ห้องสมุดประชาชน                    จำนวน           -         แห่ง

ศาสนา     ประชากรนับถือศาสนาอิสลาม

สถาบันและองค์กรศาสนา

          -  มัสยิด                             จำนวน           -         แห่ง

วันสำคัญทางศาสนา

-         วันฮารีรายออีดิลฟิตรี / อิดิลอัฎฮา

การบริการสาธารณะในหมู่บ้าน

          (1)  โทรศัพท์ 

          (2)  ประปาหมู่บ้าน  บ่อน้ำ

          (3)  ไฟฟ้า

          (5)  สาธารณสุขมูลฐาน

          (8)  ดูแลสิ่งแวดล้อม 

          (9)  การจัดเวรยามประจำหมู่บ้าน/ตำรวจบ้าน/ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.)

สถานที่ท่องเที่ยว/สถานบริการ

          - สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ   คือ   - เมืองโบราณยะรัง

          - สถานที่บริการที่น่าสนใจ    คือ    -

องค์กรต่าง ๆ ที่มีในหมู่บ้าน

          (1)  คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน

          (2)  กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)

          (3)  กลุ่มสตรีแม่บ้าน

          (4)  กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน

ทักษะฝีมือแรงงานของหมู่บ้าน

          (1)  ปักจักร

          (2)  ตัดเย็บเสื้อผ้า

ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ

          ลูกหยี งานฝีมือ งานหัตถกรรม

การดำเนินงานกิจกรรมกลุ่มต่าง ๆ ของหมู่บ้าน  มีดังนี้

          (1)  คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน เป็นกองทุนหมุนเวียนในชุมชน

          (2)  กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ดูแลสุขภาพของคนในชุมชน

2.4  บ้านพงกูวา หมู่ที่ 4  ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก ของอำเภอยะรัง ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ค้าขาย และรับจ้าง

v พื้นที่และอาณาเขต

มีพื้นที่            จำนวน          570        ไร่ มีอาณาเขตติดต่อ   ดังนี้

ทิศเหนือ          จด      ม.2 ต.ประจัน

ทิศใต้               จด      หมู่ที่ 3 บ้านบินยาลีมอ

ทิศตะวันออก    จด      หมู่ที่ 6 บ้านต้นทุเรียน

ทิศตะวันตก      จด      หมู่ที่ 1 บ้านกรือเซะ

 

v จำนวนครัวเรือนและประชากร

จำนวนครัวเรือน

260

ครัวเรือน

 

 

จำนวนประชากร

1,113

คน

 

 

 

แยกเป็น

ชาย

  546

คน

 

 

หญิง

  567

คน

v ผู้นำชุมชน

      ผู้ใหญ่บ้าน                 นายอับดุลอาซิ วาแม                        

v การประกอบอาชีพ

                   อาชีพหลัก        เกษตรกรรม   ทำนา ทำไร่ทำสวนยางพารา ทำสวน (ผลไม้)

                   อาชีพรอง         ทำสวน รับจ้างทั่วไป

v ผลิตภัณฑ์/ผลผลิตหลักของหมู่บ้าน

                   ผลิตภัณฑ์หลัก ได้แก่ ผลผลิตทางการเกษตร

                   ผลิตภัณฑ์รอง ได้แก่ สินค้าเกษตรแปรรูป งานฝีมือ งานหัตถกรรม

v ธุรกิจเอกชนในหมู่บ้าน

          1.  ปั๊มน้ำมัน                           จำนวน           1        แห่ง

          2.  โรงงานจุก๊าช                    จำนวน           -         แห่ง

          3.  โรงงานอุตสาหกรรม          จำนวน           -         แห่ง

v ร้านค้าต่าง ๆ  ในหมู่บ้าน

          1.  ร้านขายของชำหรือขายของเบ็ดเตล็ด               จำนวน           10       แห่ง

          2.  ร้านขายอาหาร                                                  จำนวน           3        แห่ง

          3.  ร้านจำหน่ายหรือซ่อมรถยนต์  รถจักรยานยนต์ รถจักยาน      จำนวน           2       แห่ง

          4.  ร้านจำหน่ายหรือซ่อมวิทยุ  โทรทัศน์  คอมฯ     จำนวน           -         แห่ง

          5.  ร้านเชื่อมโลหะ – กลึง                                       จำนวน           -         แห่ง

          6.  ร้านจำหน่ายวัสดุก่อสร้าง                                   จำนวน           -         แห่ง

          7.  ร้านซ่อมเครื่องมือและอุปกรณ์การเกษตร           จำนวน           -         แห่ง

          8.  อื่น ๆ (ระบุ  ร้านรับซื้อยางพารา)                         จำนวน           2        แห่ง

v การศึกษา

          -  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก                      จำนวน           -         แห่ง

          -  โรงเรียนตาดีกา                           จำนวน           1        แห่ง

             ได้แก่ ตาดีกานูรุลฮีดายะห์

          -  ศูนย์การเรียนอัลกุรอาน(กีรออาตี)        จำนวน           1        แห่ง

             ได้แก่ ศูนย์ฯกำปงบารู

          -  โรงเรียนประถมศึกษา                          จำนวน           -         แห่ง

          -  โรงเรียนมัธยมศึกษา(เอกชน)              จำนวน           1        แห่ง

          -  ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน/ห้องสมุดประชาชน            จำนวน           1        แห่ง

-     ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน          จำนวน           1        แห่ง

-     ห้องสมุดประชาชน                        จำนวน           -         แห่ง

-     หอกระจายข่าว                              จำนวน           1        แห่ง

o   มัธยมศึกษา

o   สูงกว่าปริญญาตรี  - คน

v ศาสนา    ประชากรนับถือศาสนาอิสลาม        

v สถาบันและองค์กรศาสนา

                   -  มัสยิด                             จำนวน           4        แห่ง

                       ได้แก่ มัสยิดนูรุลฮูดา มัสยิดซามารอตุลญันนะฮ์ มัสยิดปาฮงกูวา บาลาเซาะมิฟตาฮุสญ์

วันสำคัญทางศาสนา

-         วันฮารีรายออีดิลฟิตรี / อิดิลอัฎฮา

การบริการสาธารณะในหมู่บ้าน

          (1)  โทรศัพท์ 

          (2)  ประปาหมู่บ้าน  บ่อน้ำ

          (3)  ไฟฟ้า

          (4)  สาธารณสุขมูลฐาน

          (5)  สนามกีฬา

          (6)  เก็บขยะมูลฝอย

          (7)  การจัดเวรยามประจำหมู่บ้าน/ตำรวจบ้าน/ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน

สถานที่ท่องเที่ยว/สถานบริการ

          - สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ   คือ   - เมืองโบราณยะรัง

          -สถานที่บริการที่น่าสนใจ    คือ    -

องค์กรต่าง ๆ ที่มีในหมู่บ้าน

          (1)  คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน

          (2)  กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)

          (3)  กลุ่มสตรีแม่บ้าน

          (4)  กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน

ทักษะฝีมือแรงงานของหมู่บ้าน (1)  ช่างไม้       (2)  ตัดเย็บ

2.5 บ้านพงสตา หมู่ที่ 5 ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของอำเภอยะรัง ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและรับจ้าง  ที่มาของชื่อหมู่บ้าน จากคำบอกเล่าของผู้สูงอายุในหมู่บ้าน บอกว่าแต่เดิมมีต้นไม้ชนิดหนึ่งชื่อ “ต้นมะปราง” หรือ ต้นปาฮงสตาในภาษามลายู ขึ้นอยู่ในพื้นที่ชุมชนจำนวนมาก ชาวบ้านจึงตั้งชื่อหมู่บ้านว่า   “บ้านพงสตา”

v พื้นที่และอาณาเขต

มีพื้นที่            จำนวน        721          ไร่  มีอาณาเขตติดต่อ   ดังนี้

ทิศเหนือ          จด      ม.3 ต.ประจัน

ทิศใต้             จด      เขตเทศบาล ม.3ต.ยะรัง

ทิศตะวันออก     จด      ม.6 ต.ยะรัง

ทิศตะวันตก      จด      ม.1 ต.ยะรัง

ระยะทางห่างจากอำเภอโดย รถยนต์ระยะห่าง 2.5 กม.

v จำนวนครัวเรือนและประชากร

v ผู้นำชุมชน

      ผู้ใหญ่บ้าน                 นายมะนาเซ หามะ       

v การประกอบอาชีพ

                   อาชีพหลัก        เกษตรกรรม ค้าขาย / อาชีพรอง   รับจ้างทั่วไป

v ผลิตภัณฑ์/ผลผลิตหลักของหมู่บ้าน

                   ผลิตภัณฑ์หลัก ได้แก่ งานฝีมือ

ผลิตภัณฑ์รอง ได้แก่ ผลผลิตทางการเกษตร งานหัตถกรรม สินค้าเกษตรแปรรูป

v ทุนในหมู่บ้าน

          ๑) กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง มีสมาชิก  120  คน

              ประธานชื่อ  นายอดุลย์กิจ หะยีตาเฮ

v ธุรกิจเอกชนในหมู่บ้าน

          1.  ปั๊มน้ำมัน                          จำนวน           1        แห่ง

          2.  บ้านเช่า                           จำนวน           4        แห่ง

          3.  โรงงานอุตสาหกรรม        จำนวน           -         แห่ง

ร้านค้าต่าง ๆ  ในหมู่บ้าน

          1.  ร้านขายของชำหรือขายของเบ็ดเตล็ด            จำนวน           13     แห่ง

          2.  ร้านจำนวนอาหาร                                           จำนวน           19      แห่ง

          3.  ร้านจำหน่ายหรือซ่อมรถยนต์  รถจักรยานยนต์ รถจักยาน      จำนวน           5        แห่ง

          4.  ร้านจำหน่ายหรือซ่อมวิทยุ  โทรทัศน์  คอมฯ โทรศัพท์         จำนวน           3        แห่ง

          5.  ร้านเชื่อมโลหะ – กลึง (ตีเหล็ก)                        จำนวน           7        แห่ง

          6.  ร้านจำหน่ายวัสดุก่อสร้าง                                  จำนวน           1        แห่ง

          7.  ร้านซ่อมเครื่องมือและอุปกรณ์การเกษตร          จำนวน           1        แห่ง

          8.  อื่น ๆ (ระบุ  ร้านถ่ายเอกสาร ร้านเครื่องเขียน ร้านเฟอร์นิเจอร์ ร้านเสื้อผ้า ร้านตัดผม ร้านบริการอินเตอร์เน็ต ร้านขายพันธุ์ไม้ ร้านถ่ายรูป)                จำนวน           9        แห่ง

v การศึกษา

          -  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก                                   จำนวน           -         แห่ง

          -  โรงเรียนตาดีกา                                        จำนวน           3        แห่ง

             ได้แก่ ตาดีกาอัลยามีอะห์ อิสลามียะห์ ตาดีกาฮีดายาตุลอัตฟาล ตาดีกาดารูลอามัน

          -  ศูนย์การเรียนอัลกุรอาน(กีรออาตี)              จำนวน           3        แห่ง

             ได้แก่ ศูนย์ฯปอเนาะดารุลอีมาน ศูนย์ฯมัรกัซลูเฆาะตุลกุรอาน ศูนย์ฯปอเนาะประสานวิทยา

          -  โรงเรียนประถมศึกษา                                 จำนวน           1        แห่ง

             ได้แก่ โรงเรียนชุมชนบ้านพงสตา

          -  โรงเรียนมัธยมศึกษา (รร. เอกชนสอนศาสนา)          จำนวน           3        แห่ง

    ได้แก่ โรงเรียนประสานวิทยา           

 โรงเรียนสันติวิทยา

          -  ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน                                    จำนวน           1        แห่ง

v ศาสนา           ประชากรนับถือศาสนาอิสลาม    

v สถาบันและองค์กรศาสนา

          -  มัสยิด                             จำนวน      3        แห่ง

                ได้แก่ มัสยิดดารุสลาม มัสยิดดินาอีม มัสยิดอุสมานอิบนูอัฟฟาน

v วันสำคัญทางศาสนา

-  วันฮารีรายออีดิลฟิตรี / อิดิลอัฎฮา

v การบริการสาธารณะในหมู่บ้าน

          (1)  โทรศัพท์ 

          (2)  ประปาหมู่บ้าน  บ่อน้ำ

          (3)  ไฟฟ้า

          (4)  สาธารณสุขมูลฐาน

          (5)  สนามกีฬา

          (6)  บริการด้านการปกครองดูแลผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาส

          (7)  การจัดเวรยามประจำหมู่บ้าน/ตำรวจบ้าน/ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.)

v องค์กรต่าง ๆ ที่มีในหมู่บ้าน

          (1)  คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน              (3)  กลุ่มสตรีแม่บ้าน

          (2)  กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)     (4)  กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน

v ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ

(1)    มีด กริช ดาบ ขวาน            (2) กรงนก                 (3)  งานฝีมือ งานหัตถกรรม

จำนวนครัวเรือนและประชากร

ครัวเรือน     534     ครัวเรือน

จำนวนประชากร  1,861  คน

แยกเป็นชาย  925   คน

แยกเป็นหญิง  936  คน 

2.6 บ้านต้นทุเรียน หมู่ที่ 6  เป็นหมู่บ้านเก่าแก่มีอายุประมาณ 100 กว่าปีมาแล้ว ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ที่มาของชื่อหมู่บ้าน จากคำบอกเล่าของผู้สูงอายุในหมู่บ้าน บอกว่าเดิมมีต้นทุเรียนใหญ่มากต้นหนึ่งกลางหมู่บ้าน ชาวบ้านจึงตั้งชื่อหมู่บ้านว่า  “หมู่บ้านต้นทุเรียน”

v พื้นที่และอาณาเขต

มีพื้นที่             จำนวน         967         ไร่  มีอาณาเขตติดต่อ   ดังนี้

ทิศเหนือ          จด      ตำบลประจัน

ทิศใต้               จด      บ้านปราแว หมู่ที่ 3 ตำบลยะรัง

ทิศตะวันออก    จด      ตำบลสะนอ

ทิศตะวันตก      จด      บ้านพงสตา หมู่ที่ 5 ตำบลยะรัง

 

v จำนวนครัวเรือนและประชากร

จำนวนครัวเรือน

412

ครัวเรือน

 

 

จำนวนประชากร

1,702

คน

 

 

 

แยกเป็น

ชาย

824

คน

 

 

หญิง

878

คน

v ผู้นำชุมชน

     ผู้ใหญ่บ้าน      นายอับดุลเล๊าะ  เฮ็งปิยา                              

v การประกอบอาชีพ

                   อาชีพหลัก        เกษตรกรรม ทำไร่ทำสวนยางพารา ทำสวน (ผลไม้)

                   อาชีพรอง         รับจ้างทั่วไป

v ผลิตภัณฑ์/ผลผลิตหลักของหมู่บ้าน

                   ผลิตภัณฑ์หลัก ได้แก่ ผลผลิตทางการเกษตร

                   ผลิตภัณฑ์รอง ได้แก่ สินค้าเกษตรแปรรูป งานฝีมือ งานหัตถกรรม

v ทุนในหมู่บ้าน

          1) กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง   มีสมาชิก  70  คน

              ประธานชื่อ  นายอับดุลเล๊าะ  เฮ็งปิยา

          2) กองทุนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต       มีสมาชิก  250  คน

              ประธานชื่อ  นายมูฮำหมัด โต๊ะนาฮุน

v ธุรกิจเอกชนในหมู่บ้าน

          1.  ปั๊มน้ำมัน                          จำนวน           -         แห่ง

          2.  บ้านเช่า                           จำนวน           2        แห่ง

          3.  โรงงานอุตสาหกรรม        จำนวน           -         แห่ง

ร้านค้าต่าง ๆ  ในหมู่บ้าน

          1.  ร้านขายของชำหรือขายของเบ็ดเตล็ด             จำนวน           10        แห่ง

          2.  ร้านจำนวนอาหาร                                           จำนวน           10        แห่ง

          3.  ร้านจำหน่ายหรือซ่อมรถยนต์  รถจักรยานยนต์ รถจักยาน      จำนวน           -         แห่ง

          4.  ร้านจำหน่ายหรือซ่อมวิทยุ  โทรทัศน์  คอมฯ โทรศัพท์         จำนวน          -        แห่ง

          5.  ร้านเชื่อมโลหะ – กลึง                                       จำนวน           -         แห่ง

          6.  ร้านจำหน่ายวัสดุก่อสร้าง                                  จำนวน           1        แห่ง

          7.  ร้านซ่อมเครื่องมือและอุปกรณ์การเกษตร           จำนวน           -         แห่ง

          8.  อื่น ๆ (ระบุ วิสาหกิจครัวเรือน(ข้าวเกรียบ) ร้านรับซื้อยางพารา โรงไม้ เต็นเช่า)               

จำนวน           5        แห่ง

v การศึกษา

- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก                                                จำนวน           1        แห่ง

- โรงเรียนตาดีกา                                                     จำนวน           1        แห่ง

   ได้แก่ ตาดีกาตูนัสบารู ตาดีกาพงมือยา ตาดีกาซีดายาตุลอีมาน

- ศูนย์การเรียนอัลกุรอาน(กีรออาตี)                      จำนวน           3        แห่ง

  ได้แก่ ศูนย์ฯนุรุลกุรอาน ศูนย์ฯมิฟตะห์ฮูลญัณนะห์ ศูนย์ฯดารุลฟรกอน

·       โรงเรียนประถมศึกษา                                  จำนวน           1        แห่ง

§  ได้แก่ โรงเรียนบ้านต้นทุเรียน

·       โรงเรียนมัธยมศึกษา                                    จำนวน           1        แห่ง

§  ได้แก่ โรงเรียนผดุงศาสน์ ( ปอเนาะบือนังยือลาแป )

·       ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน                         จำนวน           1        แห่ง

v สถาบันและองค์กรศาสนา

·    มัสยิด                      จำนวน           3        แห่ง  

   ได้แก่   มัสยิดดารุลฟุรกอน  มัสยิดดาแลปากา  บาลาเซาะนูรุลฮูดา

v ศาสนา           ประชากรนับถือศาสนาอิสลาม    

v วันสำคัญทางศาสนา

·     วันอีดอิดิลฟิตรี / อีดอิดิลอัฎฮา

v การบริการสาธารณะในหมู่บ้าน

- ไฟฟ้า โทรศัพท์

- ประปาหมู่บ้าน  บ่อน้ำ

- สาธารณสุขมูลฐาน

- บริการด้านการปกครองดูแลผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาส

หมุ๋ที่ 1